หน้าแรก

วันอาทิตย์ที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2558

เรื่องเทคโนโลยีสื่อประสม

ความหมายของสื่อประสม คําวา สื่อประสม มีผูใหความหมายไวดังตอไปนี้ (พัลลภ พิริยสุรวงศ, 2540) สื่อประสม คือระบบสื่อสารขอมูลขาวสารหลายชนิดโดยผานสื่อทางคอมพิวเตอรซึ่ง ประกอบดวยขอความ ฐานขอมูล ตัวเลข กราฟก ภาพ เสียง และวีดิทัศนหรือวีดิโอ (video) (Jeffcoate, 1995, 107) สื่อประสม คือการใชคอมพิวเตอรสื่อความหมายโดยการผสมผสานสื่อหลายชนิด เชน ขอความ กราฟก ภาพศิลป (graphic art) เสียง ภาพเคลื่อนไหว (animation) และวีดิทัศนเปนตน ถาผูใชสามารถควบคุมสื่อเหลานี้ใหแสดงออกมาตามตองการไดระบบนี้จะเรียกวา สื่อประสมเชิง โตตอบ (interactive multimedia) (Vaughan, 1998, 99) สื่อประสม คือ โปรแกรมประยุกตที่อาศัยคอมพิวเตอรเปนสื่อในการนําเสนอซึ่งเปน การนําเสนอขอความ สีสัน ภาพกราฟก ภาพเคลื่อนไหว เสียง และภาพยนตรวีดิทัศนสวนสื่อ ประสมเชิงโตตอบจะเปนโปรแกรมประยุกตที่ยอมรับการตอบสนองจากผูใชดวยแผงแปนอักขระ (keyboard) เมาส (mouse) หรือตัวชี้ (pointer) เปนตน

     สรุปความหมายของสื่อประสมไดวา สื่อประสมคือการใชคอมพิวเตอรรวมกับ โปรแกรมประยุกตในการสื่อความหมายโดยการผสมผสานสื่อหลายชนิด เชน ขอความ กราฟก ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดิทัศนเปนตน และถาผูใชสามารถควบคุมสื่อใหนําเสนอออกมาตาม ตองการไดจะเรียกวาสื่อประสมเชิงโตตอบ การโตตอบของผูใชสามารถจะกระทําไดโดยผานทาง แผงแปนอักขระ เมาส หรือตัวชี้เปนตน การใชสื่อประสมในลักษณะเชิงโตตอบก็เพื่อชวยใหผูใช สามารถเรียนรูหรือทํากิจกรรม รวมถึงดูสื่อตางๆ ดวยตัวเองได สื่อตางๆ ที่นํามารวมไวในสื่อ ประสม เชน ภาพ เสียง วีดิทัศน จะชวยใหเกิดความหลากหลายในการใชคอมพิวเตอรอันเปน เทคโนโลยีในแนวทางใหมที่ทําใหการใชคอมพิวเตอรนาสนใจ และเราความสนใจ เพิ่มความ สนุกสนานในการเรียนรูมากยิ่งขึ้น 


องคประกอบของสื่อประสม จากที่ไดกลาวแลววา สิ่งประดิษฐและผลงานตางๆ ทางดานสื่อประสม สามารถ จําแนกองคประกอบของสื่อตางๆ ไดเปน 5 ชนิด ซึ่งประกอบดวย ขอความหรือตัวอักษร ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และภาพวีดิทัศนแลวนํามาผสมผสานเขาดวยกัน เพื่อใชสําหรับการโตตอบ ระหวางคอมพิวเตอรกับผูใชซึ่งถือไดวาเปนกิจกรรมที่ผูใชสามารถเลือกกระทําตอสื่อประสมได ตามความตองการ ตัวอยางเชน ผูใชไดทําการเลือกรายการและตอบคําถามผานทางจอภาพของ เครื่องคอมพิวเตอรจากนั้นระบบคอมพิวเตอรก็จะทําการประมวลผล แลวแสดงผลลัพธยอนกลับ ผานทางจอภาพใหผูใชเห็นอีกครั้ง เปนตน นอกจากนี้ยังมีการโตตอบในรูปแบบอื่นๆ อีกมากมาย ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเครื่องมือและ รูปแบบที่จะนํามาประยุกตใชงาน ตัวอยางเชน การสรางปุมหรือขอความที่มีสีแตกตางจาก ขอความปกติเมื่อผูใชมีการโตตอบกับสวนนี้ระบบก็จะเชื่อมโยงไปยังสวนอื่นๆ ที่เกี่ยวของซึ่งอาจ เปนไปไดทั้งขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียงหรือวีดิทัศนตามที่ไดมีการออกแบบไวลวงหนาแลว ดังนั้นจึงถือไดวาการโตตอบในสื่อประสมเปนสวนหนึ่งที่มีความสําคัญไมนอยไปกวา สวนอื่นๆ ดังนั้นสื่อประสมที่สมบูรณควรจะตองประกอบดวยสื่อมากกวาสองสื่อตาม องคประกอบ คือตัวอักษร ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหวการเชื่อมโยงเชิงโตตอบและวีดิทัศนเปน ตน โดยที่องคประกอบเหลานี้มีความสําคัญแตกตางกันออกไป สําหรับรายละเอียดขององคประกอบของสื่อประสมตางๆ และเรื่องที่เกี่ยวของ มี ดังตอไปนี้ 

   -ขอความหรือตัวอักษร ขอความหรือตัวอักษรถือวาเปนองคประกอบพื้นฐานที่สําคัญของสื่อประสม ระบบสื่อ ประสม (multimedia system) ที่นําเสนอผานจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอรโดยมากจะมี ตัวอักษรใหเลือกไดหลายแบบ และสามารถที่จะเลือกสีของตัวอักษรไดตามตองการ นอกจากนั้น ยังสามารถกําหนดขนาดของตัวอักษรได การโตตอบกับผูใชก็ยังนิยมใชตัวอักษร รวมถึงการใช ตัวอักษรในการเชื่อมโยงเชิงโตตอบไดเชน การคลิกไปที่ตัวอักษรเพื่อเชื่อมโยงไปยังการนําเสนอใน รูปของเสียง ภาพกราฟกหรือเลนวีดิทัศน เปนตน นอกจากนี้ตัวอักษรยังสามารถนํามาจัดเปน ลักษณะของรายการเลือก (menu) เพื่อใหผูใชเลือกขอมูลที่จะศึกษาไดโดยคลิกไปที่บริเวณกรอบ สี่เหลี่ยมของสื่อประสมแบบการโตตอบ (ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ, 2541)
   -ภาพนิ่ง ภาพนิ่งเปนภาพกราฟกที่ไมมีการเคลื่อนไหว เชน ภาพถาย หรือภาพวาด เปนตน ภาพนิ่งมีบทบาทสําคัญตอสื่อประสมมาก ทั้งนี้เนื่องจากภาพจะใหผลในเชิงของการเรียนรูดวยการ มองเห็น เชน การชมโทรทัศน อานหนังสือพิมพหรือวารสารตางๆ เปนตน จะมีภาพเปน องคประกอบเสมอ ดังคํากลาวที่วาภาพหนึ่งภาพมีคุณคาเทากับคําถึงพันคํา ดังนั้นภาพนิ่งจึงมี บทบาทมากในการออกแบบสื่อประสมที่มีตัวอักษรและภาพนิ่งเปนสวนประกอบ ซึ่งเปนลักษณะที่ เรียกวากุย (GUI ยอมาจากคําวา graphical user interface) หรือสวนตอประสานกราฟกกับผูใช ภาพนิ่งสามารถผลิตไดหลายวิธีตัวอยางเชน จากการวาด (drawing) การกราดภาพ (scanning) เปนตน
   -ภาพเคลื่อนไหว ภาพเคลื่อนไหว หมายถึง การเคลื่อนไหวของภาพกราฟก อาทิการเคลื่อนไหวของ ลูกสูบและลิ้นในระบบการทํางานของเครื่องยนต 4 จังหวะ เปนตน ซึ่งจะทําใหสามารถเขาใจระบบ การทํางานของเครื่องยนตไดเปนอยางดี ดังนั้นภาพเคลื่อนไหวจึงมีขอบขายตั้งแตการสรางภาพ ดวยกราฟกอยางงายพรอมทั้งการเคลื่อนไหวภาพกราฟกนั้น จนถึงกราฟกที่มีรายละเอียดแสดง การเคลื่อนไหว โปรแกรมที่ใชในการสรางภาพเคลื่อนไหวในวงการธุรกิจมีหลายโปรแกรม เชน โปรแกรมออโตเดสกอะนิเมเตอร (Autodesk Animator) หรือมาโครมีเดียแฟลช (Macromedia Flash) เปนตน ซึ่งโปรแกรมเหลานี้มีคุณสมบัติในดานของการออกแบบกราฟกสําหรับใชในสื่อ ประสมไดตามตองการ
   -เสียง เสียงในสื่อประสมจะจัดเก็บอยูในรูปของขอมูลดิจิทัล และสามารถเลนซ้ํา (replay) ได จากเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลหรือพีซี (PC ยอมาจากคําวา personal computer) การใชเสียง ในสื่อประสมก็เพื่อนําเสนอขอมูลหรือสรางสภาพแวดลอมใหนาสนใจยิ่งขึ้น เชน เสียงน้ําไหล เสียง หัวใจเตน เปนตน เสียงสามารถใชประกอบตัวอักษรหรือนําเสนอวัตถุที่ปรากฏบนจอภาพไดเปน อยางดีเสียงที่ใชรวมกับโปรแกรมประยุกตสามารถบันทึกเปนขอมูลแบบดิจิทัลไดจากหลายแหลง เชน ไมโครโฟน แผนซีดีเสียง แถบบันทึกเสียง และวิทยุเปนตน ภาพที่ 1.5 แสดงอุปกรณบาง ประเภทที่เกี่ยวของกับเสียง
   -วีดิทัศน การใชสื่อประสมในอนาคตจะเกี่ยวของกับการนําเอาภาพยนตรวีดิทัศน ซึ่งอยูในรูป ของดิจิทัลรวมเขากับโปรแกรมประยุกตที่เขียนขึ้น โดยทั่วไปวีดิทัศนจะนําเสนอดวยเวลาจริงที่ จํานวน 30 ภาพตอวินาที ในลักษณะนี้จะเรียกวาวีดิทัศนดิจิทัล (digital video) คุณภาพของ วีดิทัศนดิจิทัลจะทัดเทียมกับคุณภาพที่เห็นจากจอโทรทัศนดังนั้นทั้งวีดิทัศนดิจิทัลและเสียงจึงเปน สวนที่ผนวกเขาไปสูการนําเสนอไดทันทีดวยจอคอมพิวเตอร ในขณะที่เสียงสามารถเลนออกยังลําโพงภายนอกไดโดยผานแผนวงจรเสียง ภาพที่ 1.6 แสดงวีดิทัศนที่นําเสนอดวยโปรแกรม ควิกไทม (QuickTime)
   -การเชื่อมโยงเชิงโตตอบ การเชื่อมโยงเชิงโตตอบหมายถึงการที่ผูใชสื่อประสมสามารถเลือกขอมูลไดตาม ตองการโดยคลิกเมาสที่ตัวอักษรหรือปุมที่กําหนดใหเปนตัวนําทาง (navigation) การเชื่อมโยง สําหรับตัวอักษรที่จะสามารถเชื่อมโยงไดจะเปนตัวอักษรที่ออกแบบใหมีสีแตกตางจากอักษรตัว อื่นๆ สวนปุมก็จะมีลักษณะคลายกับปุมเพื่อชมภาพยนตรหรือคลิกลงบนปุมเพื่อเขาหาขอมูลที่ ตองการ หรือเปลี่ยนหนาตางไปยังขอมูลถัดไป
   -การรวมองคประกอบของสื่อประสม ตามที่ไดกลาวแลววา พื้นฐานของสื่อประสมจะตองมีองคประกอบมากกวาสอง องคประกอบเปนอยางนอยเชน ใชตัวอักษรรวมกับการใชสีที่แตกตางกัน 2-3 สีภาพศิลปภาพนิ่ง จากการวาดหรือการกราดภาพ นอกจากนั้นก็อาจมีเสียงและวีดิทัศนรวมอยูดวยการใชสื่อประสม ที่นิยมกันมีสองแบบ แบบแรกคือการใชสื่อประสมเพื่อการนําเสนอ ซึ่งนิยมใชโปรแกรมสําเร็จชุดนําเสนอ (presentation package) และแบบที่สองคือการใชสื่อประสมเพื่อการฝกอบรมหรือการ เรียนรูซึ่งนิยมใชโปรแกรมสําเร็จชุดประพันธ (authoring package) โปรแกรมสําเร็จชุดนําเสนอ เปนโปรแกรมที่พัฒนาจากแนวคิดของการใชเครื่องฉาย ภาพขามศีรษะมาเปนการนําเสนอโดยคอมพิวเตอรและเครื่องฉาย (projector) แทน ชุดนําเสนอที่ สามารถสรางขอความที่มีสีสัน ภาพกราฟกแผนภูมิแผนภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง และวีดิทัศน เหลานี้สามารถสรางจากโปรแกรมสําเร็จชุดนําเสนอ เชน โปรแกรมไมโครซอฟตเพาเวอรพอยต (Microsoft PowerPoint) หรืออะซิมเมตรีคอมเพล (Asymmetry’s Compel) เปนตน โปรแกรมสําเร็จชุดประพันธเปนชุดที่ใชเพื่อพัฒนาโปรแกรมดานสื่อประสม มีฟงกชั่น (function) ตางๆ ใหผูใชสามารถออกแบบโปรแกรมการสอนในหองเรียนไดตามความตองการ ทั้ง การใชขอความ ภาพ กราฟก เสียง และวีดิทัศน ในการฝกอบรมหรือการฝกทบทวน โปรแกรม สําเร็จชุดประพันธที่ใชกันมีหลายโปรแกรม เชน โปรแกรมมัลติมีเดียทูลบุก (Multimedia Toolbook) มาโครมีเดียออเธอรแวร (Macromedia Authorware) เปนตน ซึ่งนอกจากจะเขียนเปน โปรแกรมฝกอบรมหรือการสอนแลวยังสามารถนําโปรแกรมสําเร็จชุดประพันธมาใชเขียนแบบ โปรแกรมสําเร็จชุดการนําเสนอไดอีกดวย


องคประกอบของเทคโนโลยีสื่อประสม เทคโนโลยีสื่อประสมโดยหลักๆแลวจะมีองคประกอบ ดังนี้ 

1. เครื่องคอมพิวเตอร เปนเครื่องมือที่ทําใหเราไดเห็น ไดยิน สามารถโตตอบแบบ ปฏิสัมพันธได 
2. การเชื่อมโยงสื่อสาร ทําใหขอมูลตางๆเชื่อมโยงถึงกันและนําเสนอได 
3. ซอฟตแวรสามารถชวยใหเราใชขอมูลจากสื่อหลายชนิดรวมกันได 
4. การใชงานแบบสื่อประสม โดยใชขอมูลขาวสารในรูปแบบสื่อประสมที่ผูใชสรางขึ้น สําหรับเครื่องคอมพิวเตอรนั้น ถาเปนคอมพิวเตอรสวนบุคคลหรือสถานีงาน (workstation) จะตองมีศักยภาพในดานของเสียงและวีดิทัศน เชน จอภาพตองสามารถแสดง ขอความ กราฟก ภาพเคลื่อนไหว และวีดิทัศนรวมถึงภาพที่มีความละเอียดสูงไดลําโพงเสียงที่มี ศักยภาพในการเปลงเสียงพูด และเสียงดนตรีไมโครโฟนชนิดพลวัต (dynamic) หรือคอนเดนเซอร (condenser) และซีดีรอม (CD-ROM ยอมาจากคําวา compact disk read only memory) หรือ จานแสง (optical disk) ชนิดอื่นๆ เปนตน สวนวิธีการตางๆ ในการโตตอบกับระบบอาจมีหลายวิธี เชน วิธีการโตตอบโดยใชแผงแปนอักขระ เมาสกานควบคุม (joystick) หรือจอสัมผัส (touch screen) เปนตน

   สื่อประสมในอนาคต เปนที่คาดกันวา ในอนาคตสื่อประสมจะเปนนวัตกรรมหนึ่งที่มีการเติบโตทั้งดาน ซอฟตแวร (software) และฮารดแวร (hardware) ราคาของสื่อประสมจะถูกลงอยางมากในขณะที่ ประสิทธิภาพในดานภาพ เสียง และวีดิทัศนจะพัฒนาขึ้นจนมีคุณภาพสูง การเพิ่มศักยภาพของ คอมพิวเตอรดานสื่อประสมจะกระทําไดงาย สวนในดานซอฟตแวรจะสามารถใชไดงายขึ้น และมี การพัฒนาโปรแกรมประยุกตทางดานตางๆ มากมายและผูใชสามารถใชไดอยางงายดาย รวมถึง การนําสื่อประสมเขาไปประยุกตใชในวงการตางๆ อยางแพรหลาย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น